|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลไพรนกยูงมีเส้นทางคมนาคม ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมทางหลวงชนบท จำนวน 4 สาย คือ |
 |
สายหันคา– รางจิก |
ระยะทาง |
2.5 |
กิโลเมตร |
 |
สายหนองหอย – กะบกเตี้ย |
ระยะทาง |
3 |
กิโลเมตร |
 |
สายน้ำพุ – วังน้ำทม |
ระยะทาง |
4.5 |
กิโลเมตร |
 |
สายหนองอ้ายสาม – บ่อพระ |
ระยะทาง |
4.3 |
กิโลเมตร |
นอกจากเส้นทางดังกล่าวข้างต้น องค์การบริหารส่วนตำบลไพรนกยูงเป็นผู้รับผิดชอบ ทั้งถนนคอนกรีตภายในหมู่บ้าน ถนนลาดยาง และถนนลูกรังบดอัด ภายในตำบล 13 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
 |
ลำน้ำ ลำห้วย |
จำนวน |
13 |
สาย |
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |
|
|
|
 |
ฝาย |
จำนวน |
16 |
แห่ง |
 |
บ่อน้ำตื้น |
จำนวน |
6 |
แห่ง |
 |
บ่อบาดาล |
จำนวน |
75 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
ป่าไม้ |
 |
ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาราวเทียน ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 406 (พ.ศ.2512) ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 เนื้อที่ประมาณ 15 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 625 ไร |
แหล่งน้ำผิวดิน |
 |
แบ่งออกเป็น แหล่งน้ำธรรมชาติ ที่สำคัญ ของตำบลและ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นแหล่งน้ำ ธรรมชาติที่สำคัญ มีจำนวน 4 แห่ง คือ ลำห้วยโตนด หนองน้ำใส ลำห้วยวังโปร่ง อ่างเขาพระ พื้นที่ได้รับประโยชน์ ประมาณ 3,500 ไร่
จำนวนกว่า 500 ครัวเรือน บึง หนองและอื่นๆ 2 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น มีฝาย 16 แห่ง อ่างเก็บน้ำ 2 แห่ง |
แหล่งน้ำใต้ดิน |
 |
จากสภาพพื้นที่ของตำบลไพรนกยูง มักประสบปัญหาขาดแคลนน้ำเป็นอย่างมาก จึงมี
การขุดเจาะบ่อบาดาลเพื่อใช้ในการเกษตรและการอุปโภค-บริโภค ในพื้นที่มีบ่อบาดาล จำนวน120 แห่ง พื้นที่ได้รับประโยชน์ 1,200 ไร่ จำนวน 150 ครัวเรือน |
|
|
|
|